วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555

บันทึกสิ่งที่ได้จากการเข้าเรียน



วิดีโอ โททัศน์ครู

ผลไม้แสนสนุก คุณครูไพพร ถิ่นทิพย์ รร.บ้านถิ่น(ถิ่นวิทยาคาร)

http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3438

คุณครูไพพรจะสอนในการปฏิบัติจริงไปสถานที่จริง ได้ไปดูผลไม้ของจริง ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการเรียนรู้และมีการให้เด็กๆได้ซักถามสิ่งที่เด็กๆอยากรู้ เด็กๆก็ได้รับประสบการณ์ตรง เด็กๆมีความกล้าแสดงออก กล้าซักถาม และนำประสบการณ์ตรงมาให้เด็กๆถ่ายทอดลงในกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ปรากฎว่าเด็กเรียนรู้ได้เร็ว เป็นการบูรณาการ 3 กิจกรรมหลัก เข้าด้วยกัน 1.เคลื่อนไหวและจังหวะ 2.กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 3.กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555

ฐานกิจกรรม ขั้วเหมือนผลัก-ขั้วต่างดูด

อุปกรณ์  แม่เหล็ก , ช้อน-ซ่อม , กรรไกรตัดเล็บ ก้อนหิน , ลูกกุญแจ , กิ๊บ กล่องเหล็ก , คริปหนีบกระดาษ , กำลัยแขน , กระจกพลาสติก , กระดาษ , ไม้บรรทัดพลาสติก , ไม้บรรทัดเหล็ก



ขั้วต่างดูด

ขั้วเหมือนผลัก

สิ่งที่แม่เหล็กสามารถดูดได้  มีดังนี้  ช้อน-ซ่อม , กรรไกรตัดเล็บ , ลูกกุญแจ , กิ๊บ กล่องเหล็ก , คริปหนีบกระดาษ , กำลัยแขน  , ไม้บรรทัดเหล็ก

จากกิจกรรมพบว่า สิ่งที่แม่เหล็กไม่สามารถดูดได้ มีดังนี้  ก้อนหิน, กระจกพลาสติก , กระดาษ , ไม้บรรทัดพลาสติก


ใช้คำถามก่อนการสาธิตทดลอง

ให้เด็กๆทดลองทำด้วยตัวเอง

สาธิตและอธิบายถึงขั้วแม่เหล็ก ขั้วเกมือนผลัก-ขั้วต่างดูด

ที่ปั้ม
เมื่่อเด็กทำกิจกรรมเสร็จก็จะประทับตราแสดงว่าเข้าฐานนี้แล้ว

แสดงว่าเด็กเข้าร่วมครบทุกฐาน
สมาชิก
1. นางสาวรัชฏาภรณ์ ฤาชา
2. นางสาวนฎา หาญยุทธ
3. นางสาวบวัญชนก  เจริญผล
4. นางสาวศิริวรรณ เสากำปัง

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555

บันทึกความรู้ที่ได้รับจากการเข้าเรียน



กิจกรรมวิทยาศาสตร์

ขั้วต่างดูด  ขั้วเหมือนผลัก
วัสดุ-อุปกรณ์
         -  แม่เหล็ก
         - วัสดุที่แม่เหล็กสามารถดูดได้ เช่น  คลิปหนีบกระดาษ  ไม้บรรทัดเหล็ก  ลูกกุญแจ  ตะปู  เป็นต้น
         - วัสดุที่แม่เหล็กไม่สามารถดูดได้  เช่น  ก้อนหิน  ดินสอ  ไม่จิ้มฟัน  เป็นต้น

แนวคิด
                แม่เหล็กเป็นของแข็งชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติพิเศษ สามารถดึงดูดสารบางชนิดได้ โดยทั่วไป แม่เหล็กมี 2 ขั้วคือ ขั้วเหนือ กับขั้วใต้  โดยกฎของแม่เหล็กคือ ขั้วต่างกันดูดกันและขั้วเหมือนกันผลักกัน

วิธีทดลอง
                ให้เด็กๆเลือกวัสดุที่เตรียมไว้ให้  และทดลองโดยการนำแม่เหล็กมาดูดและสามารถบอกได้ว่า วัสดุไหนที่แม่เหล็กดูดได้ และวัสดุไหนที่แม่เหล็กดูดไม่ได้


**งานที่ได้รับมอบหมาย**

- จัดกิจกรรม วัน อังคาร ที่ 18 กันยายน 2555
       - เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
       - ทำป้ายแขวนคอเด็ก
       - ใช้เวลาฐานละ 15 นาที

วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555

- ส่งบรอดที่นักศึกษาส่งมาเป็นกลุ่ม

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

- ส่งสมุดเล่มเล็ก( ขั้นตอนการทำดอกไม้-ใบไม้ )กลุ่ม 3 คน

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม
 
 - ส่งการทดลองวิทยาศาสตร์กลุ่ม 4 คน


กิจกรรมดูสีเต้นระบำ
  แนวคิด
                แรงตึงผิวเป็นคุณสมบัติของของเหลว (เป็นแรงที่เกิดขึ้นบริเวณที่ผิวของของเหลวสัมผัสกับของเหลวอื่นหรือผิวของแข็ง) เมื่อใส่สารลดรงตึงผิวเพียงเล็กน้อยในของเหลว  สารลดแรงตึงผิวจะไปลดแรงตึงผิวของของเหลว เพื่อให้เกิดกระบวนการต่างๆง่ายขึ้น  เช่น  การเกิดฟอง  การทำให้เปียก  และกระบวนการทำความสะอาด เป็นต้น

 วัสดุ-อุปกรณ์
        -  จาน
        - นมสด
           - สีผสมอาหาร
           - น้ำยาล้างจาน
           - หลอดหยด

ขั้นตอน
1. เทนมลงในจาน  วางทิ้งไว้ให้นมนิ่งๆ
2.หยดสีผสมอาหารลงไปตรงกลางจาน สีละ1หยด
3. หยดน้ำยาล้างจานลงบนสีผสมอาหารทีละ1หยด หรือใช้ cotton bud ชุบน้ำยาล้างจานจุ่มลงไปตรงกลางสีที่หยดไว้ (ซึ่งสามารถหยดน้ำยาล้างจานลงไปได้เรื่อยๆ)  และสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง

 สรุป
   - เมื่อหยดสีลงในนม ลักษณะของสีจะเป็นหยดๆไม่มีการกระจายตัว เพราะว่าน้ำนมมีแรงตึงผิวที่พยายามจะยึดผิวหน้าของน้ำนมไว้
  - เมื่อหยดน้ำยาล้างจาน ซึ่งมีคุณสมบัติลดแรงตึงผิวลงไปในน้ำนม  จึงทำให้สีที่อยู่ในน้ำนมกระจายตัวและสามารถวิ่งได้ในส่วนที่มีแรงตึงผิวลดลง



-บันทึกความรู้ที่ได้จากการเข้าเรียน



**งานที่มอบหมาย**

- กลุ่ม 4 คน แบ่งได้ 9 กลุ่ม จัดกิจกรรมโดยมีหัวข้อดังนี้
- จับฉลากเลือกหัวข้อ
- เขียน  1. ตั้งชื่อกิจกรรมเก๋ๆ , อุปกรณ์
             2. แนวคิด , วิธีการดำเนินกิจกรรม
             3. ทำป้ายแขวนคอเด็ก
- ดูเรื่องวิทยาศาสตร์ในโทรทัศน์ครู ดึงมา 1 เรื่อง ตอบคำถามว่า นำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนอย่างไรได้

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555

- จัดบรอด กลุ่มละ 3 คน
                                                         

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม
3.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย

บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม

วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

ภาพผลงานที่ได้จากการอบรม

ทำดอกพุทธรักษาและจัดเรียง

ทำดอกกุหลาบจากกระดาษทิชชู

จัดดอกกุหลาบเป็นช่อ

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555

- ประดิษฐ์ดอกไม้

ทำดอกมะลิ

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2555

- อาจารย์ให้จับกลุ่ม 8 คนและแจกหนังสือเกี่ยวกับ 4 สาระ



**งานที่มอบหมาย**

- จับกลุ่ม 4 คน
       - คิดกิจกรรมจาก 4 สาระ 
       - เขียนใส่กระดาษ
       - มีแนวคิด ขั้นตอน ขั้นสรุป 

วันศุกร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555

อาจารย์ติดภารกิจ

*เรียนชดเชยวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

วันเสาร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555

อาจารย์ติดภารกิจ

*สอนชดเชยในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555

วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555

สอบกลางภาค

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7

วันอังคารที่่ 24 กรกฎาคม 2555

18 สิงหาคม 2555 วันวิทยาศาสตร์ ที่ไบเทคบางนา



อาจารย์ยกตัวอย่าง

การคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับช้าง






ดึงประสบการเดิม
 - คำถาม
 - วาดภาพ
 - กิจกรรมศิลปะ
ออกแบบกิจกรรม
 - ไปทัศนศึกษา  => เห็นจริง มีผู้รู้ อธิบาย
 - ไปห้องสมุด     => หาข้อความรู้ต่างๆ ก่อนไปสถานที่จริง
ต้องดูว่าเด็กจะสะท้อนความคิดออกมาโดยใช้เทคนิคอะไรบ้าง

ทำไมถึงต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ระดมความคิดแล้วเราต้องเปิดโอกาส
 - เด็กเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง
 - กล้าแสดงออก
 - ประสบผลสำเร็จในการหาคำตอบ

** งานที่มอบหมาย**

- เขียนแผน ส่งวัน ศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555
- จับกลุ่ม 9 คน ทดลอง 1 อย่าง 
- มีอุปกรณ์ สื่อ ให้พร้อม และมีความสามารถในการทำงาน
- มีไอเดียในการใช้เทคโนโลยี อย่างไรบ้าง


ตัวอย่างเช่น 

  วันที่ 1  - สอน   ช้างมีหลายชนิด แต่ละชนิดแตกต่างกัน
              - ประสบการณ์สำคัญ รับรู้เรื่องของช้างที่มีชื่อเรียกแตกต่างกัน อธิบาย เรียกชื่อได้
ขั้นเรียกร้องความสนใจ 
           ขั้นนำ - ใช้ภาพตัดต่อ
                     - นิทาน

   วัตถุประสงค์  
             - รู้อะไร ทำอะไรได้
ประสบการณ์สำคัญ
             - สิ่งที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
             - เด็กได้ทำอะไร เช่น ได้จัดประเภทช้าง
กิจกรรม
            - จักกลุ่ม
            - บอกชื่อ
            - ร้องเพลง
สื่อ 
           - ภาพตัดต่อ 
           - รูปภาพ
ประเมินผล
          - สังเกตการมีส่วนร่วม  
          - ตอบคำถาม
หมายเหตุ     

วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555




อาจารย์ยกตัวอย่าง


** งานที่มอบหมาย**

- เป็นงานกลุ่มทำเป็น Map ใส่กระดาษที่อาจารย์แจกมา กลุ่มของฉันได้หัวข้อ วิทยาศาสตร์น่ารู้


วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

วันอังคาร ที่ 10 กรกฎาคม 2555

- นำเสนองานของแต่ละกลุ่มพร้อมสาธิตวิธีการเล่น



- อาจารย์แนะนำวิธีการทำผลงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
   คำแนะนำของอาจารย์
        - ทำที่ตั้งรางมดกับเขาวงกตให้มันสูงขึ้น
        - โดยใช่กล่องกระดาษ 2 กล่อง มาทำเป็นที่ตั้ง
        - เจาะกล่องกระดาษทั้ง 2 กล่อง เป็นที่เสียบให้เด็กสามารถกลับด้าน
           เล่นได้อย่างสะดวก
        - ทำที่ครอบไฟฉายให้แข็งแรง
        - ใช้แกนทิชชู หรือ กระดาษเทาขาว มาทำเป็นที่ครอบ
        - เด็กจะได้ไม่ต้องใช้หนังยางรัดให้ยุ่งยาก
        - ให้เด็กสามารถสับเปลี่ยนกระดาษแก้วได้อย่างสะดวก

**งานที่มอบหมาย**

-ให้กลับไปแก้ไขผลงานของตัวเองให้มีประสิทธภาพมากยิ่งขึ้น

มดหารัง

วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษร้อยปอนด์
2. แม่เหล็ก 2 ตัวที่มีแรงดูดกัน
3. แผ่นเคลือบใส
4. กล่องกระดาษ 2 กล่อง
5. กระดาษชาร์ต

วิธีทำ
1. ตัดกระดาษร้อยปอนด์ให้เท่าขนาด A3
2. วาดรูปเป็นรูปบ้านมดลงในกระดาษ A3


3. ระบายสีให้สวยงาม


4. วาดรูปตัวมดลงในกระดาษร้อยปอนด์ ทำเป็นตัวเดิน 1 ตัว ระบายสีให้สวยงาม
5. นำรูปบ้านมดและตัวมดไปเคลือบให้กระดาษแข็งแรงและทนทาน
6. นำตัวมดไปติดกับแม่เหล็กที่เตรียมไว้เพื่อเป็นตัวเดิน


7. นำกระดาษชาร์ตมาห่อกล่องกระดาษให้เรียบร้อย และเจอะกล่องกระดาษให้พอที่จะเสียบรูปบ้านมดได้


8. นำแม่เหล็กอีกตัวไว้ด้านล่างเพื่อเป็นตัวดูดให้มดสามารถเดินได้ตามทางเดินและหารังของตัวเอง


เขาวงกต

วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษร้อยปอนด์
2. แม่เหล็ก 2 ตัวที่มีแรงดูดกัน
3. แผ่นเคลือบใส
4. กล่องกระดาษ 2 กล่อง
5. กระดาษชาร์ต

วิธีทำ
1. ตัดกระดาษร้อยปอนด์ให้เท่าขนาด A3
2. วาดรูปเป็นรูปเขาวงกตลงในกระดาษ A3
3. ระบายสีให้สวยงาม


4. วาดรูปเครื่องบินลงในกระดาษร้อยปอนด์ ทำเป็นตัวเดิน 1 ตัว ระบายสีให้สวยงาม
5. นำรูปเขาวงกตและเครื่องบินไปเคลือบให้กระดาษแข็งแรงและทนทาน
6. นำตัวเครื่องบินไปติดกับแม่เหล็กที่เตรียมไว้เพื่อเป็นตัวเดิน


7. นำกระดาษชาร์ตมาห่อกล่องกระดาษให้เรียบร้อย และเจอะกล่องกระดาษให้พอที่จะเสียบรูปบ้านมดได้


8. นำแม่เหล็กอีกตัวไว้ด้านล่างเพื่อเป็นตัวดูดให้เครื่องบินสามารถเดินได้ตามทางเดินเขาวงกตและหาที่จอดได้สำเร็จ


ไฟฉายมหาสนุก

วัสดุอุปกรณ์
1.ไฟฉาย
2. กระดาษแก้ว 3 สี แดง , น้ำเงิน , เหลือง
3. หนังยาง
4. กระดาษเทาขาว
5. เทปกาว
6. กระดาษชาร์ต

วิธีทำ
1. ตัดกระดาษเทาขาวขนาดล้อมรอบหัวไฟฉายได้พอดี และติดเทปกาว
2. ตัดกระดาษแก้วแต่ละสีให้เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส


3. นำกระดาษแก้วไปครอบกระดาษเทาขาวใช้หนังยางรัดใหเแน่น และใช้กระดาษชาร์ตห่อหุ้มด้านนอกไว้ให้เรียบร้อย โดยทำทีละสี


4. นำกระดาษแก้วสีเหลืองกับสีน้ำเงิน ไปคลอบกระดาษเทาขาวใช้หนังยางรัดให้แน่นและใช้กระดาษชาร์ตหุ้มด้านนอกให้เรียบร้อย


5. นำกระดาษแก้วทั้ง 3 สีมารวมกัน ไปครอบกระดาษเทาขาวใช้หนังยางรัดใหเแน่นและใช้กระดาษชาร์ตหุ้มด้านนอกให้เรียบร้อย


วิธีเล่น
1. นำกระดาษแก้วที่เป็นสีเหลืองมาครอบไฟฉาย เปิดไฟฉาย จะเกิดสีอะไร
2. นำกระดาษแก้วที่เป็นสีแดงมาคลอบไฟฉาย เปิดไฟฉาย จะเกิดสีอะไร
3. นำกระดาษแก้วที่เป็นสีน้ำเงินมาคลอบไฟฉาย เปิดไฟฉาย จะเกิดสีอะไร
4. นำกระดาษแก้วที่ห่อด้วยสีเหลืองและสีน้ำเงินมาคลอบไฟฉาย เปิดไฟฉาย จะเกิดสีอะไร
5. นำกระดาษแก้วที่ห่อทั้ง 3 สีเข้าด้วย กันมาคลอบไฟฉาย เปิดไฟฉาย จะเกิดสีอะไร



ความรู้เกี่ยวกับสีของแสง

การมองเห็นสีต่าง ๆ บนวัตถุเกิดจากการผสมของแสงสี เช่น แสงขาวอาจเกิดจากแสงเพียง 3 สีรวมกัน แสงทั้ง 3 สี ได้แก่ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ำเงิน หรือเรียกว่าสีปฐมภูมิ และถ้านำแสงที่เกิดจากการผสมกันของสีปฐมภูมิ 2 สีมารวมกันจะเกิดเป็น สีทุติยภูมิ ซึ่งสีทุตยภูมิแต่ละสีจะมีความแตกต่างกันในระดับความเข้มสีและความสว่างของแสง ดังภาพ


เรามองเห็นวัตถุที่เปล่งแสงด้วยตัวเองไม่ได้ก็เพราะมีแสงสะท้อนจากวัตถุนั้นเข้าสู่นัยย์ตาของเรา และสีของวัตถุก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของแสงที่สะท้อนนั้นด้วย โดยวัตถุสีน้ำเงินจะสะท้อนแสงสีน้ำเงินออกไปมากที่สุด สะท้อนแสงสีข้างเคียงออกไปบ้างเล็กน้อย และดูดกลืนแสงสีอื่น ๆ ไว้หมด ส่วนวัตถุสีแดงจะสะท้อนแสงสีอดงออกไปมากที่สุด มีแสงข้าวเคียงสะท้อนออกไปเล็กน้อย และดุดกลืนแสงสีอื่น ๆ ไว้หมด สำหรับวัตถุสีดำจะดูดกลืนทุกแสงสีและสะท้อนกลับได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ดังภาพ